태국 3 대 친환경 브랜드 : 전세계적 지속가능한 트랜드를 만들다./รวม 3 แบรนด์รักษ์โลกสัญชาติไทย สร้างปรากฏการณ์ Sustainability ครั้งใหญ่ระดับโลก
요즘 패션산업은 오랫동안 관심을 두지 않았던 자연과 지속 가능발전 분야에 관심을 돌리기 시작했다. 패션은 생존하기 위해 수익을 창출하는 사업이라는 것은 피할 수 없는 사실이다. 그러나, 과거보다 더 밝고 안전한 미래로 나아가기 위해 환경을 유지하고 사회에 환원하는 다양한 형태의 방법을 개선하거나 정책을 세워왔다. 이 모든 것들은 새 시대를 위한 긍정적 신호이다. 모든 위대한 일들은 지구를 구하기 위한 작은 첫걸음이지 않을까요? 여러분들도 친환경적인 상품을 후원함으로써 지구를 지키는 일에 일조할 수 있다. 패션업계는 그들이 살고 있는 곳의 아름다움과 환경에 영향을 미치는 것을 인지한 현명한 소비자를 지향하고 있다.
ทุกวันนี้อุตสาหกรรมแฟชั่นเริ่มหันมาสนใจในแง่มุมธรรมชาติและ กระแสการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่วงการละเลยมานานปี แม้จะยังไม่ ครอบคลุมทุกส่วนในทันที เพราะอย่างไรแฟชั่นก็หนีไม่พ้นการเป็น รูปแบบของธุรกิจแขนงหนึ่ง ซึ่งจ าเป็นต้องสร้างเม็ดเงินเพื่อการอยู่รอด แต่อย่างน้อยการปรับเปลี่ยนวิถีหรือการสร้างนโยบายเพื่อคงไว้ซึ่ง สภาพแวดล้อมและการตอบแทนสังคมรูปแบบต่าง ๆ ก็เท่ากับ ความก้าวหน้าของอนาคตที่น่าจะสดใสและปลอดภัยกับเรากว่าเดิม ทั้งหมดทั้งมวลนี้เพื่อเป็นสัญญาณที่ดีส าหรับโลกยุคใหม่ ก็ในเมื่อทุก ความยิ่งใหญ่ต่างเริ่มต้นจากก้าวเล็ก ๆ ก้าวแรกเสมอ คุณเองก็สามารถ เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจรักษ์โลกได้ ผ่านการสนับสนุน ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โลกแฟชั่นก าลังมุ่งหน้าสู่วิถีของสาว นักช็อปคนฉลาด ผู้เลือกจ่ายสตางค์ซื้อสไตล์ ซึ่งส่งผลอันงดงามกับ สภาพแวดล้อมที่เธออาศัย
1. 리님 프로젝트(Renim Project) '리님 프로젝트(Renim Project)'는 오래된 청바지에 대한 애정에서 시작되었다. '쏭웃 텅 투아' 디자이너는 패션 서바이벌 프로그램 'Vogue Who’s On Next, The Vogue Fashion Fund 2018'에 참가하기 전에, '데님 프로젝트(Denim Project)'라는 그의 과거 브랜드를 'Remade / Reduce / Redesign'라는 핵심 아이디어와 연결 지어 브랜드의 기본 모드로 삼았다. 그리고 프로그램 중간에 ‘리님 프로젝트(Renim Project)’라고 이름을 새롭게 변경하여, 프로그램에서 우수상을 모두 휩쓸었다. '리님 프로젝트(Renim Project)'의 첫 글자인 '리(Re)'는 본래 있었던 원자재를 사용하여 새로운 것으로 창조해 내는 것을 나타낸다. 이 브랜드는 현재 로스앤젤레스의 패션 위크에서 세계적으로 명성을 떨칠 만큼 성장해있다.
Renim Project
ริเริ่มตั้งต้นจากความชอบยีนส์เก่า ทรงวุฒิ ทองทั่ว พาแบรนด์ชื่อ เก่าคือ Denim Project ของเขาเข้าสู่โหมดหลักประจ าแบรนด์ ด้วยการ ยึดโยงเข้าไว้กับแนวคิดส าคัญคือ Remade / Reduce / Redesign ก่อนก้าวเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของผู้เข้าแข่งขันในโครงการ Vogue Who’s On Next, The Vogue Fashion Fund 2018 และคว้ารางวัล รองชนะเลิศไปครองด้วยชื่อใหม่ที่ปรับเปลี่ยน กลางรายการคือ Renim Project พยางค์แรกในเวอร์ชั่นใหม่ของแบรนด์สะท้อนถึงการน าเอา วัสดุที่มีอยู่แล้วมาดัดแปลงโครงสร้าง เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ จนสามารถ เติบโตก้าวกระโดดไปอวดโฉมสู่สากลในงานสัปดาห์แฟชั่นที่มหานคร ลอสแอนเจลิส
2. 러버 킬러 (Rubber Killer) '러버 킬러 (Rubber Killer)'는 태국인 '싸릉롱 웡싸완' 디자이너의 가방 및 액세서리 브랜드이다. 그는 태국 내 최고 아티스트인 '롱 웡싸완' 작가의 아들이다. 그는 사용하고 남은 ‘자동차 고무 타이어’를 사용해서 새로운 작품으로 창조해 가방이든 다양한 액세서리로 만들어낸다. 이 브랜드의 핵심은 바로 브랜드 창시자가 처음부터 목표한 환경보호에 기각한 현대적인 디자인이다. 생산된 제품은 고무의 속성대로 오래동안 사용이 가능하며 단단하다. 모든 결과물은 각기 다른 형태를 지니고 있기 때문에 특별하고 수준 높은 색다름을 선사한다. 게다가 많은 물건을 넣을 수도 있다는 장점도 있다. '러버 킬러'는 아이디어와 사용의 적합성, 그리고 지구를 해치지 않는 아름다움을 모두 사로잡은 또 하나의 태국 브랜드라 할 수 있다.
Rubber Killer
แบรนด์กระเป๋าและเครื่องประดับสัญชาติไทยของ สเริงรงค์ วงษ์ สวรรค์บุตรชายของสุดยอดนักเขียนดีกรีศิลปินแห่งชาติ รงษ์ วงษ์ สวรรค์ เขาเน้นหนักในการใช้วัสดุอย่าง “ยางในรถยนต์” ที่เป็นวัตถุดิบ เหลือใช้มาสร้างสรรค์เป็นผลงานชิ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นกระเป๋าหรือแอ็ก เซสเซอรี่ตกแต่งต่าง ๆ บทสรุปคือ แนวคิดการออกแบบร่วมสมัย เหมาะสมกับคอนเซปต์รักษ์โลก ที่ผู้ก่อตั้งหมายใจไว้ตั้งแต่ต้น ผลผลิตที่ ได้ทั้งคงทน แข็งแรงจากคุณสมบัติเดิมของยาง และมอบความแตกต่าง อันเหนือชั้น เพราะแต่ละผลลัพธ์ล้วนพิเศษด้วยร่องรอย ซึ่งไม่เหมือนกัน แถมยังใส่สัมภาระได้ทีละมาก ๆ นับเป็นอีกแบรนด์ฝีมือคนไทยที่ครบ ครันทั้งในด้านแนวคิด ความเหมาะสมของการใช้งาน และความสวยงาม ที่ไม่ท าร้ายโลก
3. 색 아이템 (SackItem) '색 아이템 (SackItem)'은 '타나락 워라릿타논' 디자이너의 아이디어로 탄생한 원자재부터 눈에 띄는 가방 브랜드이다. 그는 천이나 동물의 가죽 대신 사용하고 버려진 여러 문양의 시멘트 봉투를 세척하여 재료로 사용한 창의적인 가방브랜드이다. 즉, 모든 색 아이템 가방은 세상에 단 하나 밖에 없게 상품이다. 무늬와 위치가 같은 것이 하나도 없기 때문이다. 이 브랜드는 우리 지구의 쓰레기양을 연간 4~5 톤이나 감소시켜 주는 중요한 역할을 한다.
SackItem
อีกแบรนด์กระเป๋าที่โดดเด่นตั้งแต่วัสดุเกิดจากไอเดียของ ธนา รักษ์ วรฤทธานนท์ผู้น าถุงปูนเหลือใช้ลายต่าง ๆ มาท าความสะอาดและ ใช้เป็นวัตถุดิบในการสร้างสรรค์กระเป๋าแทนผ้าใบหรือหนังสัตว์ ด้วย เหตุนี้ ผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นจึงมีเพียงชิ้นเดียวเนื่องจากลวดลายและจังหวะที่ ไม่มีทางซ้ าต าแหน่งกัน และน้อยคนนักจะทราบว่าแบรนด์นี้คือแรง ส าคัญที่ช่วยลดปริมาณขยะเหลือใช้ในโลกของเราได้ถึงปีละ 4-5 ตัน เลยทีเดียว